Top
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคกิ่งแห้งทุเรียน
เชื้อสาเหตุ : เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน (Fusarium solani)
 
ลักษณะอาการของโรค
มีลักษณะอาการคล้ายโรครากเน่าโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อไฟทอปธอร่า พาลมิวอร่า คือ ทุเรียน มีอาการ กิ่งแห้ง บริเวณกิ่งมีเชื้อราสีขาวเจริญเป็นหย่อมๆ ใบที่ติดปลายกิ่งมีสีเหลืองและร่วงไป แต่จะต่างกันตรงที่บริเวณโคนต้น ถ้าเป็นโรครากเน่าโคนเน่า จะมีแผลสีน้ำตาลเข้มโคนต้น ฉ่ำน้ำ เนื่องจากระบบรากถูกเชื้อราไฟทอปธอร่าเข้าทำลาย
 
แต่เชื้อราฟิวซาเรียมตัวนี้ เมื่อเข้าทำลายบริเวณกิ่ง จะทำให้ท่อลำเลียงน้ำและอาหารถูกทำลาย น้ำจากรากที่ถูกลำเลียงขึ้นมาไปเลี้ยงกิ่งและใบไม่ได้ ทำให้กิ่งแห้งกรอบมีสปอร์ขาวๆ เป็นวง ติดอยู่ตรงกิ่งและใต้ท้องกิ่ง มีลักษณะเปลือกนอกแห้งและร่อน หากลุกลามจะทำให้เกิดแผลที่ใต้ท้องกิ่งลามติดลำต้น ใบเหลืองและแห้ง ร่วง และต้นตายในที่สุด

แมลงพาหะการระบาด : เพลี้ยหอยเกล็ด มอดเจาะลำต้น
 
 
แนวทางแก้ไขป้องกันกำจัด
 
✅ หากพบอาการยอดแห้งกรอบดูจากสีใบสีขาวหรือสีน้ำตาล ไม่หลุดจากกิ่ง…ให้ตัดกิ่งหรือยอดนั้นมาเผาแบบปิด คือ ไม่ให้มีควัน ป้องกันการฟุ้งกระจายของโรค
-------------------------
 
ป้องกันกำจัดด้วยสารกำจัดเชื้อรา
 
 
✅ อะตาร์เอฟ อัตรา 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
✅ พ่นติดกัน 2-3 ครั้งห่างกัน 7-10 วัน
เพื่อประสิทธิภาพในการดูดซึมและแผ่กระจายของยา แนะนำผสมกับ ฟิกเซอร์ 408 อัตรา 2-4 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
 
-------------------------
 
เมื่อไม่มีสปอร์ตามใบและกิ่งแล้ว ควรมีการฟื้นฟูต้นทุเรียนให้มีการแตกราก แตกใบชุดใหม่ด้วย
ฟลอริเจน อัตรา 30 ซีซี + อารูกา 10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
 
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล