Top
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
เกษตรกรผู้ปลูกพริก ตัองป้องกันการระบาดของไรขาวและโรคกุ้งแห้งไว้ให้ดี ????????????
ในสภาพอากาศแปรปรวน มีฝนตกชุก สามารถพบการระบาดของไรขาวและโรคแอนแทรคโนส หรือโรคกุ้งแห้งในพริกได้มากขึ้น

ไรขาวพริก broad mite
ที่เป็นศัตรูสำคัญของพริกที่มักพบการระบาดในช่วงที่มีอากาศชื้น หรือช่วงฤดูฝน หรือระยะแตกใบอ่อน

ไรขาวพริกมีวงจรชีวิตสั้นจากระยะไข่จนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัยกินเวลานาน 4-5 วัน ตัวเมียหลังจากผสมพันธุ์ 1-2 วัน ตัวเมียจะวางไข่ทีละฟอง ไข่ที่วางได้เฉลี่ย 32 ฟองต่อตัวเมีย ตัว และตัวเมียมีชีวิตอยู่ได้นานเฉลี่ย 12 วัน

อาการ :
???? ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของไรขาวชอบดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน เนื่องจากมีอวัยวะส่วนปากไม่ค่อยแข็งแรง, ยอดที่แตกใหม่ของพืช และดอก ทำให้ใบและยอด หงิกงอ ขอบใบม้วนงอลงด้านล่าง ใบมีลักษณะเรียวแหลม ก้านใบยาว เปราะหักง่าย ใต้ใบเป็นสีน้ำตาล ใบร่วงหล่น

???? อาการขั้นรุนแรง ส่วนยอดจะแตกฝอย ถ้าทำลายดอก กลีบดอกจะบิดแคระแกร็นทำให้ชะงักการออกดอก หากระบาดรุนแรง ต้นพริกจะแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต 
-------------------------------------------------------
 
โรคกุ้งแห้ง หรือ โรคแอนแทรคโนส
สาเหตุ : เชื้อรา Colletotrichum spp.
???? พบการระบาดของโรคได้ทุกส่วนของต้นพริก และพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพริก แต่จะพบมากในระยะที่ต้นพริกให้ผลผลิต มักพบบนผลพริกที่เริ่มสุกหรือก่อนที่ผลพริกจะเปลี่ยนสี

อาการ :
???? เริ่มแรกจะพบจุดหรือแผลช้ำยุบตัวเล็กน้อย ต่อมาแผลขยายใหญ่สีน้ำตาลหรือดำ ลักษณะเป็นวงรีหรือวงกลม บริเวณแผลพบส่วนของเชื้อราเป็นจุดสีดำขนาดเล็กเรียงเป็นวงซ้อนกัน กรณีที่สภาพอากาศชื้น จะเห็นเมือกเยิ้มสีส้มอ่อน ถ้าอาการรุนแรง จะทำให้ผลเน่าและร่วงก่อนเก็บเกี่ยว หากพบอาการที่ผลอ่อน จะทำให้ผลพริกโค้งงอบิดเบี้ยวลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง
-------------------------------------------------------

แนะนำป้องกันด้วย
???? ไลเซน (เฟนไพรอกซิเมต 5% W/V SC) ใช้ป้องกันกำจัดไร ทุกระยะการเจริญเติบโต อัตรา 10-20 ซีซี /น้ำ 20 ลิตร
???? โกลด์ทิป 76 (ซีแรม 76% WG) ใช้ป้องกันกำจัดเชื้อราสาเหตุโรคกุ้งแห้ง (โรคแอนแทรคโนส) อัตรา 30-50 กรัม /น้ำ 20 ลิตร
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล