Top
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
อาการใบไหม้ที่เกิดจาก...เพลี้ยจักจั่นฝอยในทุเรียน
ช่วงนี้ในสวนทุเรียนหลายพื้นที่ อาจพบทุเรียนใบไหม้ ใบแห้ง ยอดแห้ง เกิดได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการเข้าทำลายของ "เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน"
-------------------------------------------------
ชื่อสามัญ​ : Durian leafhopper
ชื่อวิทยาศาสตร์​ : Amrasca durianae Hongsaprug

????ลักษณะเพลี้ยจักจั่นฝอย ​:
???? ลักษณะทั่วไปคล้ายคลึง​กับ​ "เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยมะม่วง" มาก แต่จะมี​สีอ่อนกว่า โดยมีสีเหลืองอมเขียว พื้นสีของหัว pronotum และ scutellum เป็นสีน้ำตาลอมเขียว ซึ้งเวลาเกาะตามใต้​ใบทุเรียน​ สีจะกลมกลืนกับใบทุเรียน​เป็นอย่างมาก ทีี่บริเวณ​ใกล้​ขอบหน้าผากมีจุดดำ 2 จุด และมีเส้นสีเขียวอ่อนวนรอบ ที่ขอบด้านหน้าของ pronotum มีจุดสีเขียวเรียงเป็นระยะ และที่ด้านข้างมีจุดสีดำกลุ่มเล็กๆ​ ล้อมรอบด้วยสีเขียว มีแถบสีขาวทอดตามยาวตรงกลาง scutellum มีจุดสีเป็นกลุ่มอยู่ตรงกลาง ปีกใสสีเขียวอ่อน ที่ใกล้ปลายปีกก่อนถึงเซลล์​ มีจุดสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ 1 กลุ่ม ไม่มีสีแดงเหมือนเพลี้ยจั๊กจั่นฝอยมะม่วง


????ลักษณะการทำลาย ​:
???? ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนทุเรียน เนื่องจาก​เพลี้ย​จั๊กจั่น​ฝอย​ทุเรียน​ มีปากแบบ​เจาะดูด​ การดูดกินน้ำเลี้ยง​ในเซลล์​พืช​จะไม่ทำให้เซลล์​พืชแตก​ แต่จะใช้น้ำลาย​ซึ่ง​มี​สาร​พิษ​ ไปย่อยผนังเซลล์​ให้บางลง​ เพื่อให้ธาตุอาหาร​ที่เพลี้ย​จั๊กจั่น​ฯ​ ต้องการ​ภายในเซลล์​พืชซึมผ่าน​ผนังเซลล์​ออกมา​ ทำให้ขอบใบอ่อน​ทุเรียน​ มีอาการ​ม้วนงอ​ ขอบใบมีลักษณะ​คล้าย​ถูกน้ำร้อน​ลวก​ ระยะต่อมาขอบใบจะม้วนงอเกิดอาการใบไหม้​ ที่เรียกว่า​ "Hopper burn" หากพบการระบาดรุนแรง​อาจทำให้ใบอ่อน​ ยอดอ่อน​เกิดอาการไหม้รุนแรงทั้งต้น​
-------------------------------------------------

???? การใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกัน
✅  เชื้อราบิวเวอเรีย หรือ เชื้อราเมธาไรเซี่ยม
โดยควรฉีดพ่นเชื้อราทั้งสองชนิด อย่างต่อเนื่อง หรือสลับกัน
  • ข้อควรระวัง ในการฉีดพ่นเชื้อราทั้ง​ 2 ชนิด
    ควรฉีดพ่นในช่วงที่อากาศไม่ร้อนจัดและควรงดเว้น การฉีดพ่นสารกำจัดโรคพืช​ หลังการพ่นเชื้อราทั้ง​ 2 ชนิด อย่างน้อย 5-7 วัน

-------------------------------------------------
????การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน​
✅ เมื่อพบเพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน​ระบาด ใช้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัด ได้แก่ โปรโตคอพ (ไทอะมีทอกแซม(thiamethoxam) 25% WG) อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมกับ บัคคลิน (แลมบ์ดา ไซฮาโลทริน 2.5% W/V EC) อัตรา 20 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร
✅ สลับกับการใช้สารที่ออกฤทธิ์ดูดซึม เช่น สาร​กลุ่ม​ 4A ได้แก่ อิมิดาโคลพริด 10%SL อัตรา​ 20-40 ซีซี.  ต่อน้ำ 20 ลิตร
✅ เพิ่มประสิทธิภาพด้วย "ฟิกเซอร์ 408" ช่วยให้ยาแพร่กระจายและแทรกซึมได้มากขึ้น อัตรา 2-4 ซีซี.  ต่อน้ำ 20 ลิตร
✅ ไม่ควรใช้สารฆ่าแมลงชนิดใดชนิดหนึ่งซ้ำติดต่อกันหลายครั้ง เพราะทำให้เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทุเรียน​ดื้อยาได้
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล