Top
เพลี้ยหอยในส้ม
ช่วงนี้ เกษตรกรผู้ปลูกส้ม จะพบการระบาดของเพลี้ยหอยในแปลงกันเยอะ ด้วยสภาพอากาศที่เอื้อต่อการเจริญเติบโต ทำให้เพลี้ยหอยขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ซึ่งชนิดเพลี้ยหอยที่ระบาดในพืชตระกูลส้ม จะเป็นเพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนีย
 
 
มาทำความรู้จัก "เพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนีย" กัน
  • เพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนีย เป็นแมลงจำพวกปากดูด
  • ชื่อภาษาอังกฤษ : California Red Scale
  • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aonidiella aurantii, Maskell

  • พืชอาศัย : เข้าทำลายในพืชตระกูลส้ม ส้มเขียวหวาน ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโอ และ มะนาว
  • ลักษณะของเพลี้ยหอย : ตัวเต็มวัยเพศเมียมีสีน้ำตาลแดง รูปร่างกลมคล้ายโล่ มีการสร้างไขปกคลุม คล้ายเกราะป้องกันการซึมของ น้ำ เพื่อป้องกันภัย ตัวอ่อนเพศผู้มีรูปร่างคล้ายหยดน้ำ เมื่อโตเต็มวัยตัวผู้จะมีปีก 1 คู่
 
ลักษณะการทำลาย
  • ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนีย จะดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบ กิ่ง และผล โดยเฉพาะที่ผลอ่อน ทำให้เปลือกมีสีซีด ผลแคระแกร็น ผิวเปลือกเป็นหลุม ถ้ามีการระบาดมากจะทำให้ใบ หรือผลหลุดร่วง ผลผลิตเสียหาย
 
-------------------------------------------------
การป้องกันกำจัด
✅ ถ้าพบการระบาด แนะนำใช้ "โปรโตคอพ" สารไทอะมีทอกแซม (กลุ่ม 4A) 25% WG เข้าทำลายแบบดูดซึม ที่ออกฤทธิ์แบบถูกตัวตายและกินตาย
✅ ผสมร่วมกับ "บัคคลิน" สารแลมบ์ดา ไซฮาโลทริน (กลุ่ม 3A) เข้าทำลายแบบสัมผัส ออกฤทธิ์แบบถูกตัวตาย
✅ เพิ่มประสิทธิภาพด้วย "ฟิกเซอร์ 408" ช่วยให้ยาแพร่กระจายและแทรกซึมเข้าไปที่ตัวเพลี้ยหอยได้มากขึ้น
-------------------------------------------------
อัตราแนะนำ
  •  โปรโตคอพ 10 กรัม + บัคคลิน 20 ซีซี + ฟิกเซอร์ 408 2-4 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
 
 
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล