Top
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน

เตือนภัย!!...โรคใบจุดสาหร่าย

ในช่วงที่มีฝนตกหนัก สภาพอากาศชื้นเหมาะต่อการระบาดของโรคใบจุดสาหร่าย เกษตรกรต้องหมั่นสำรวจแปลงไม้ผลและเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบจุดสาหร่าย


????โรคใบจุดสาหร่าย
???? สาเหตุ : เกิดจากสาหร่ายสีเขียว Cephaleuros virescens Kunze

????ลักษณะอาการ


???? โรคจุดสาหร่าย (algal spot) เกิดขึ้นได้ทั้งที่ใบและกิ่ง อาการบนใบจะเห็นเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อนปนเขียว จุดนูนขึ้นจากผิวใบเล็กน้อย ขอบของจุดมีลักษณะเป็นแฉกๆ ไม่เรียบ จุดเล็กๆ นี้จะขยายใหญ่ขึ้นในสภาพความชื้นสูง และได้รับแสงแดดเพียงพอ เมื่อสาหร่ายแก่ขึ้นจะเปลี่ยนเป็นสีแดงสนิมเหล็ก ลักษณะคล้ายกำมะหยี่ ปรากฏอาการจุด สนิมออกมา ซึ่งเป็นระยะที่สร้างอวัยวะสืบพันธุ์เพื่อแพร่ไปยังส่วนต่างๆ ของต้นพืช จุดสนิมเกิดกระจัดกระจายบนใบทำ ให้พื้นที่สังเคราะห์แสงของใบลดลง และยังดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบพืชทำให้ใบซีดเหลือง และร่วงในที่สุด ส่วนอาการที่กิ่ง จะมีลักษณะคล้ายขนนกกำมะหยี่สีแดงหรือสีน้ำตาลแดงขึ้นเป็นหย่อมๆ สาหร่ายจะเข้าทำลายกิ่งเล็กและเจริญปกคลุมผิวกิ่ง ต่อมากิ่งจะแตกและพบสาหร่ายเจริญแน่นหนาที่ผิวเนื้อเยื่อกิ่งที่แตก ต้นพืชที่มีขนาดเล็ก อายุ 1 - 2 ปี มีทรงพุ่มแน่นทึบ และได้รับแสงแดดไม่ทั่วถึงอาจเกิดความเสียหายได้


????พืชอาศัยและการแพร่ระบาด

????  สาหร่าย Cephaleuros virescens ทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น  เงาะ ลำไย ทุเรียน มะม่วง เป็นต้น  สามารถระบาดในที่ ๆ มีความชื้นสูงโดยเฉพาะฤดูฝน แพร่ระบาดโดยสปอร์จะปลิวไปตามลม นอกจากนี้ น้ำก็เป็นพาหะนำสปอร์ไปสู่ต้นอื่นได้เช่นเดียวกัน

????วิธีป้องกันกำจัด

✅ ตัดแต่งกิ่งให้แสงแดดส่องทั่วทรงพุ่ม เพื่อลดความชื้นภายในทรงพุ่ม

✅ ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย

✅ เก็บรวบรวมใบที่เป็นโรคและร่วงหล่นอยู่ในบริเวณสวนไปเผาทำลาย

???? ป้องกันกำจัดด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

✅  เมื่อเริ่มพบการระบาดของโรค แนะนำให้ใช้ ฉีดพ่นด้วย "โกลด์ทิป 76" (สารซีแรม 76%WG) อัตรา 20 กรัม ผสมร่วมกับฟิกเซอร์ 408 อัตรา 2-3 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อควบคุมการระบาดของเชื้อรา ฉีดพ่นที่ใบและให้ทั่วทั้งต้น หรือใช้ฉีดพ่นป้องกันเป็นระยะๆ


บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล