Top
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง

ในสถานการณ์เข้าสู่ช่วงฤดูร้อน ภัยแล้งกำลังมาถึงชาวสวนผลไม้ ดังนั้นเกษตรกรต้องมีการจัดการสวนของตนเองให้ต้นไม้อยู่รอดผ่านพ้นช่วงวิกฤตภัยแล้งนี้ไปให้ได้ เพราะต้นไม้ผลใช้เวลานานหลายปีกว่ามันจะออกดอก ติดผล เพราะฉะนั้นเราจึงมีการจัดการสวนไม้ผลในยามขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปจะร้อนและแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อไม้ผล ทั้งในแง่ของปริมาณและคุณภาพผลผลิต ทำให้ผลไม้มีขนาดเล็กและคุณภาพต่ำ จึงต้องมีการดูแลให้ไม้ผลได้รับน้ำอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
-----------------------------------------

วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง มาฝากเกษตรกรทุกท่าน มีดังนี้
1. การให้น้ำ โดยคำนึงถึงการให้น้ำแบบประหยัดที่สุด โดยให้น้ำครั้งน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เพื่อลดการสูญเสียน้ำ

2. ให้น้ำต้นไม้ผล ภายในบริเวณรัศมีทรงพุ่มเท่านั้น อย่าให้น้ำมากจนไหลแฉะไปทั่วสวน

3. เปลี่ยนช่วงเวลาการให้น้ำเป็นช่วงกลางคืน เพื่อช่วยให้พืชลดการระเหยน้ำจากการถูกแดดเผา

4. ต้นไม้เล็กควรใช้วัสดุช่วย ในการพรางแสง เพื่อลดความเข้มแสง

5. ใช้วัสดุคลุมดิน เช่น ใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง ฟางแห้ง โดยคลุมจากโคนต้นไม้ผลจนถึงแนวรัศมีทรงพุ่ม ซึ่งวัสดุคลุมดินจะช่วยชะลออัตราการระเหยของน้ำจากผิวดินให้ช้าลง และวัสดุเหล่านี้จะค่อยๆ ผุผังเป็นอินทรียวัตถุ ทำให้ดินร่วนและมีการอุ้มน้ำดีขึ้น

6. จัดเตรียมแหล่งน้ำ สำรองน้ำเก็บไว้ให้พอใช้ตลอดหน้าแล้ง และครวมีการตรวจเช็คบ่อเก็บน้ำให้มีสภาพพร้อมใช้ น้ำไม่รั่วซึม

7. หากในพื้นที่น้ำน้อย ไม่พอต่อความต้องการของต้นไม้ ควรทำการตัดแต่งผลผลิตออกก่อน เพื่อรักษาชีวิตของต้นไม้ไว้

----------------------------------------

ดูแลพืชด้วย "อารูกา" ฮิวมิค แอซิด คุณภาพ

"อารูกา" ฮิวมิค แอซิดที่ช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้น จึงทำให้น้ำสามารถแทรกซึมเข้าสู่ชั้นดินได้ดี ดินอุ้มน้ำดี และลดการระเหยของน้ำจากดินได้มากขึ้น

"อารูกา" ช่วยให้จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน ทำงานได้อย่างมีประสิทธิมากขึ้น

"อารูกา" ช่วยปลดปล่อยธาตุอาหารที่ตกค้างอยู่ในดิน ให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดียิ่งขึ้น

"อารูกา" เป็น คีเลตธรรมชาติ ที่ช่วยนำพาธาตุอาหารจากดินเข้าสู่รากพืชได้ดียิ่งขึ้น
----------------------------------------
แนะนำการใช้
 อัตราการใช้ 5-10 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ราดดิน
 สามารถใช้ได้กับพืชทุกชนิด

บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล