Top
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ

เมื่อเริ่มเข้าสู่หน้าหนาว สภาพอากาศเย็นในตอนกลางคืนและมีหมอกในช่วงเช้ามืด จะเป็นสภาพอากาศที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด และโรคที่สำคัญที่มักจะเกิดในต้นกล้าของผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักกาดเขียวปลี ผักกาดขาวปลี กะหล่ำดอก กะหล่ำปลี ผักฮ่องเต้ ผักกาดหางหงษ์ และผักกาดหัว ฯลฯ คือ "โรคเน่าคอดิน" จะเกิดรุนแรงเมื่อความชื้นสูง ดินมีการระบายน้ำไม่ดี

โรคเน่าคอดิน  (damping-off) 

เชื้อราสาเหตุ :
Pythium spp. 

ลักษณะอาการ

เชื้อราจะเข้าทำลายพืชในระยะต้นกล้า ทำให้ลำต้นเน่าและตายลงอย่างรวดเร็ว เส้นใยของราที่เป็นสาเหตุจะแพร่กระจายอยู่ในดิน และเข้าสู่ต้นกล้าโดยแทงเข้าไปในเซลล์ผิว บริเวณโคนต้นที่ติดกับผิวดินมีลักษณะฉ่ำน้ำสีน้ำตาลเข้ม เมื่ออาการรุนแรงเนื้อเยื่อจะเกิดเป็นแผลเน่าลาม ทําให้ต้นกล้าเหี่ยวทั้งต้น หักล้มและตายก่อนจะแตกใบจริง บางครั้งเชื้อราอาจเข้าทําลายเมล็ดก่อนงอกพ้นดิน ทําให้เมล็ดไม่งอกหรืองอกออกมาแต่ไม่มีใบเลี้ยง 

???? แนวทางการป้องกัน
???? การเพาะกล้าในกระบะเพาะกล้า ควรใช้วัสดุปลูกที่สะอาดจากแหล่งที่ไม่มีการระบาดของโรค

???? แปลงปลูกควรไถพลิกกลับหน้าดินตากแดดเพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคในดินก่อนปลูก

???? ใช้ชีววิธี โดยใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ซึ่งเป็นศัตรูของราที่ทำให้เกิดโรคเน่าคอดิน โดยทำการคลุกกับเมล็ด หรือคลุกในดิน หรือแช่เมล็ดและกิ่งพันธุ์ในอัตรา 200ซีซี/น้ำ20ลิตรเป็นเวลา 2-10ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับความหนา บางของเยื่อพืชแต่ล่ะชนิด จะป้องกันการเกิดโรคได้ผลดี หลังเพาะชำ พ่นในอัตรา 100ซีซี/น้ำ20ลิตร และฉีดพ่นหลังปลูกให้ทั่ว ใบ กิ่งก้าน และโคน ฉีดพ่นทุก 10 วัน เพื่อป้องกันและกำจัดโรคพืช

???? หรือคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีที่ฆ่าเชื้อรา (fungicide) ช่วยป้องกัน hypocotyls และradicle ที่งอกมาให้มีความต้านทานต่อเชื้อรา ที่นิยมใช้คือ captan , dichlone และ thiram ก่อนเพาะกล้า

???? ไม่ควรให้น้ำในแปลงเพาะกล้า จนชื้นแฉะเกินไป

???? หากเริ่มพบการระบาดของโรคในแปลงปลูก ให้ฉีดพ่นด้วย "คิวโตฟอส" อัตรา 30 ซีซี ผสมร่วมกับ "เวโล" อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่ว ใบ กิ่งก้าน และโคนทุกๆ 5-7 วัน เพื่อหยุดการระบาดของเชื้อราสาเหตุโรคพืช

บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล