Top
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
ทำไมฝนตกทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดีกว่าการใช้น้ำปะปารด☔️☔️☔️
ทุกท่านอาจจะเคยสังเกตว่าหลังฝนตกแล้วต้นไม้ของเราดูสดชื่น พากันแทงยอดอ่อนกันใหญ่ ซึงจะแตกต่างเมื่อเรารดน้ำด้วยน้ำปะปา เพราะสาเหตุมาจากการที่ในอากาศมีไนโตรเจนมากมาย แต่พืชไม่สามารถนำไปใช้เองได้ ยกเว้นตอนที่ ฝนที่ตกลงมาจะนำพาสารประกอบไนโตรเจนลงมาสู่พื้นดินเบื้องล่าง โดยมีการประเมินไว้ว่าฟ้าแลบครั้งหนึ่งจะทำให้ธาตุไนโตรเจนตกลงมายังพื้นดินประมาณ 2 กิโลกรัม ต่อพื้นที่จำนวน 1 ไร่ ในเวลาหนึ่งปี และเมื่อคิดคำนวณทั้งโลก จะพบว่าจะมีธาตุไนโตรเจนตกลงมายังโลกทั้งสิ้น 770 ล้านตัน สาเหตุก็คือในขณะที่เกิดฟ้าแลบพลังงานบางส่วนที่เกิดจากฟ้าแลบจะทำให้ไนโตรเจน (N)ในอากาศทำปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจน (O) เกิดเป็นสารประกอบไนตริกออกไซต์ (NO) สารประกอบไนตริกออกไซต์(NO) จะเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงตัวเองไปเป็นไนโตรเจนออกไซต์ (NO2) ซึ่งจัดว่าเป็นสารที่มีการละลายได้ดีในน้ำฝน และจะเปลี่ยนเป็นกรดไนตริกหรือกรดดินประสิว(HNO3) ตกลงมายังพื้นดิน เมื่อตกลงมาแล้วจะไปรวมตัวกับธาตุอื่นๆ ในดิน เช่น ธาตุแคลเซียม (Ca) กลับกลายเป็นแคลเซียมไนเตรทซึ่งเป็นปุ๋ยให้กับพืชในที่สุด 

โดยแคลเซียมไนเตรทจะมีประโยชน์ต่อพืชดังนี้
✅ ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผนังเซลล์
✅ สร้างความชุ่มชื้นให้เซลล์พืช
✅ ช่วยป้องกันผลแตก
✅ ช่วยแก้ปัญหารูปร่างของผลไม้บิดเบี้ยวไม่เป็นรูปทรง และผลไม่สม่ำเสมอ
✅ ช่วยเร่งการแตกยอดและการเจริญของรากฝอย
-------------------------------------------------------
ปุ๋ยแคลเซียมไนเตรทสำหรับพืชทุกชนิด
"คิว-เฟอร์ท 15-0-0+26 CaO"
-------------------------------------------------------

ทั้งนี้ การเกิดฝนตกฟ้าคะนองนอกจากจะช่วยให้พื้นดินชุ่มฉ่ำแล้ว ยังช่วยเพิ่มปุ๋ยให้กับพืชด้วย นอกจากนี้ฝนที่ตกลงมาจากฟ้าจะมีค่าความเป็นกรดด่างหรือ pH มีค่าต่ำกว่า 6 เล็กน้อย เนื่องมาจากฝนก่อนที่จะตกลงมาจะรับเอาคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในอากาศมาด้วย ส่งผลให้น้ำฝนมีความเป็นกรดอ่อนๆ ซึ่งความเป็นกรดอ่อนๆ ของน้ำฝนดังกล่าวนี้สามารถทำละลายธาตุต่างๆ ในบรรยากาศระหว่างที่ฝนกำลังตกลงมารวมถึงธาตุอาหารในดินได้
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล